วันอาทิตย์ที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2553

การติดตั้ง Atutor (ต่อ)

11. ระบบรายงานกรสร้างตารางข้อมูลงฐานข้อมูล atutor
12. คลิกปุ่ม Next



13. ระบบรายละเอียดผู้ควบคุมเว็บ และรายละเอียดเพิ่มเติม
14. คลิกปุ่ม Next




15. ระบุรายละเอียดผู้ใช้(ชื่ออาจารย์ : Instructor) คนแรก
16. คลิกปุ่ม Next




17. โปรแกรมแสดงพาทในการเก็บเนื้อหาต่างๆ ชื่อว่า content




ให้ไปสร้างไดเร็กทอรี่ชื่อว่า content


สร้างไดเร็กทอรีชื่อว่า content ไว้สำหรับเก็บหลักสูตรต่างๆ

* หลังการสร้างโฟลเดอร์แล้ว กรณีใช้บนโฮสต์ติ้งจริงต้องเปลี่ยนโหมด (chmod) เป็น 777 ให้สามารถอ่านและเขียนข้อมูลเข้าไปได้
สามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ http://www.cmsthailand.com/web45-47/print.php?sid=99





18. ระบบเขียนคอนฟิกเข้าไปในไฟล์ ../include/config.inc.php
19. คลิกปุ่ม Next




20. ระบบรายงานข้อมูลระบบที่ใช้ติดตั้ง ATutor
21. ให้คลิกปุ่ม Next




22. ระบบรายงานว่าการติดตั้งเรียบร้อยแล้ว
23. คลิกปุ่ม Login เพื่อเข้าระบบ




24. ระบบแสดงเว็บหน้าแรกให้ล็อกอินเข้าระบบ
โดยเราสามารถล็อกอินเข้าระบบโดยชื่อผู้ใช้สองคนคือ ชื่อผู้ดูแลระบบ และชื่ออาจารย์ ที่เราระบุก่อนหน้านี้


กรณีล็อกอินเป็น Admin


กรณีล็อกอินเป็น Instructor



* สามารถอ่านคู่มือการติดตั้งเพิ่มเติมได้ในห้อง docs หรือที่ URL : http://www.atutor.ca/atutor/docs/

สรุป
ATutor เป็นเครื่องมือที่นิยมนำมาทำระบบ E-Learning สำหรับใช้งานในโรงเรียน สถาบันการศึกษา บริษัทเอกชน สำหรับในไทยเราเอง ATutor เป็นทูลที่ได้รับความนิยมเพียงระดับหนึ่งเท่านั้น ปัจจุบัน ATutor ได้รับการแปลเป็นภาษาต่างๆ มากมายรวมทั้งภาษาไทย สามารถดูภาษาที่ ATutor รองรับอยู่ในปัจจุบัน (27/03/48) ที่ http://www.atutor.ca/atutor/translate/ สำหรับ ในที่นี้ผู้เขียนได้อธิบายเฉพาะการติดตั้ง ATotor แบบเดี่ยวๆ เท่านั้น
ปัจจุบันนี้ ATutor สามารถติดตั้งเป็นโมดูลเสริมในระบบ CMS ยอดนิยมอย่าง PostNuke, Mambo สามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่เว็บท่าของ ATutor คือ ATutor.ca

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น